
Base of Asian Global Imaging Science (BAGIS) 2023
11 เมษายน 2023
ประกาศขายทอดตลาดพัสดุชำรุดเสื่อมสภาพ ปีงบประมาณ 2563 และปี 2565
24 เมษายน 2023
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญนภา พัฒนาพิภัทร
ตำแหน่ง อาจารย์ประจำสาขาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย
ที่อยู่ : คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพ :
1. 3D Production
2. 3D Technology
3. เทคโนโลยีโลกเสมือน : Virtual Reality (VR), Augmented Reality (AR) และ Mixed Reality (MR)
4. สื่อสมัยใหม่ (New Media)
5. New Media for Education
ประสบการณ์/ความชำนาญที่เป็นประโยชน์ต่อคณะฯ :
1. หัวหน้างานบริการวิชาการแก่สังคม
2. คณะกรรมการในการออกแบบและจัดทำหลักสูตร New Skill/Up Skill/Re Skill
วิทยากร (ความชำนาญเฉพาะด้าน)
1. วิทยากรฝึกอบรมโครงการจัดการความรู้และพัฒนาสมรรถนะบุคลากร หลักสูตร “การวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอแผนภาพข้อมูล (Data Visualization)” ในรูปแบบ Infographics โดยสำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2562)
2. ผู้ทรงคุณวุฒิให้ความเห็นต่อร่างกรอบการวิจัย ปี 2567 กลุ่มเรื่องการศึกษาศตวรรษที่ 21 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ผลงานหนังสือ/ตำรา/งานแปล :
–
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ :
ผลงานในลักษณะอื่น ๆ :
ผลงานสร้างสรรค์ “ลานวัด เกมคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีเสมือนจริง” จัดแสดงผลงานในงานสร้างสรรค์ทางศิลปะและการออกแบบระดับชาติ SILPA 2022 ภายใต้ความร่วมมือ สภาคณบดีศิลปะและการออกแบบแห่งประเทศไทย สมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย คณะวิิจิตรศิิลป์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิิทยาลัยรังสิต
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และคณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประวัติการอบรม :
ประวัติการศึกษา :
พ.ศ. ปริญญาโท : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
พ.ศ. ปริญญาตรี : เทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ประสบการณ์การทำงาน :
2557-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย
คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2563-ปัจจุบัน หัวหน้างานบริการวิชาการแก่สังคม
คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รายวิชาที่สอน (ที่รับผิดชอบหลัก) :
1. วิชาหลักการแอนิเมชัน
2. วิชาการออกแบบรูปทรง 3 มิติ
3. วิชาการผลิตแอนิเมชัน 3 มิติ
ด้านงานบริการวิชาการ / การเป็นกรรมการ :
1) จัดทำผลงานโมชั่นกราฟิก เพื่อรณรงค์การสร้างสำนึกประหยัดน้ำในช่วงภาวะวิกฤตภัยแล้ง สำนักโฆษกสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (2561)
2) หัวหน้าโครงการ Check ก่อน Share วัยรุ่นยุคใหม่ รู้จริง ไม่มี Fake สนับสนุนโดยกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ (2562)
3) ที่ปรึกษาโครงการวิจัยร่วม โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและการประยุกต์ใช้รหัส QR เพื่อบริหารงานซ่อมบำรุงเครื่องพิมพ์และเครื่องจักร (2562)
4) ที่ปรึกษาโครงการจัดทำหลักสูตรอบรมออนไลน์ในระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส์
(E-Learning) สนับสนุนโดยกองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (2562)
5) ที่ปรึกษาโครงการการผลิตภาพยนตร์สั้น มรดกของแผ่นดิน ศาสตร์และศิลป์แห่งภูมิปัญญา สำนักงานกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ (2562)
6) เป็นวิทยากรฝึกอบรมโครงการจัดการความรู้และพัฒนาสมรรถนะบุคลากร หลักสูตร “การวิเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอแผนภาพข้อมูล (Data Visualization)” ในรูปแบบ Infographics โดยสำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2563)
7) คณะกรรมการดำเนินงานโครงการยกระดับและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) ตำบลเขาเพิ่ม จังหวัดนครนายก (2563)
8) คณะกรรมการดำเนินงานโครงการโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG and Regional Development) 13 ตำบล จังหวัดปราจีนบุรี (2564)
9) หัวหน้าโครงการการสร้างสรรค์รูปแบบการประชาสัมพันธ์ศูนย์การเรียนรู้แดนอัศจรรย์แห่งธรรม : Spiritual Complex วัดชลประทานรังสฤษฏ์ (2564)
10) หัวหน้าโครงการบริการวิชาการเกี่ยวกับการจัดอบรมหลักสูตร Up-skill, Re-skill, New-skill โครงการอบรมการออกแบบและขึ้นโมเดล 3 มิติเบื้องต้น (ระหว่างวันที่ 16-18 กุมภาพันธ์ 2566)
ด้านการทำงานร่วมภาคอุตสาหกรรม :
–
ผลงานวิชาการ : งานวิจัย
Bennapa Chartchuea. (2014). Study on Tablet User Interface for Elders. the Annual Meeting of the Society of Photographic Science and Imaging of Japan.
Bennapa Chartchuea. (2018). Affect Animation Design with Frame-by-Frame Technique “The Principle of Animation. the 8th International Conference on Computer, Electrical and Electronics Engineering & Technology (ICEEET-18), 109-114.
Bennapa Chartchuea. (2018). Understanding of Body Language in 3D Animation with Motion capture Technology. 4th Asia Color Association Conference: ACA2018, 588-593.
Meeusah, N & Pattanapipat, B. (2021). The Impact of VR Graphical User Interface on Oculus Touch Controller and Oculus Rift. The International Journal of Multimedia & Its Applications (IJMA), 13(6), 27-38.
C. Sudthongkhong, B. Intarapasan, T. Wongsheree, K. Thanasuan, B. Pattanapipat and P. Suksai, “Real-Time Face Mask Detection with Deep Learning for Pandemic Safety,” 2023 17th International Conference on Signal-Image Technology & Internet-Based Systems (SITIS), Bangkok, Thailand, 2023, pp. 213-217, doi: 10.1109/SITIS61268.2023.00040.
เบญนภา พัฒนาพิภัทร. (2560). การสร้างเกมคอมพิวเตอร์แนวแอ็คชั่นด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
เบญนภา พัฒนาพิภัทร. (2563). การพัฒนารูปแบบการประชาสัมพันธ์ผ่านการเล่าเรื่องโดยใช้สื่อดิจิทัลเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาดุก. งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาพื้นที่ (บพท.)
เบญนภา พัฒนาพิภัทร. (2564). การพัฒนาภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ ด้วยเทคโนโลยี ตรวจจับการเคลื่อนไหวสำหรับฝึกท่ามวยไทยพื้นฐาน. วารสารนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 9(2), 52-63.
เบญนภา พัฒนาพิภัทร และภููวนาท พัฒนาพิภัทร. (2565). การพัฒนาแอปพลิเคชันแนะนำการใช้งานห้องปฏิบัติการด้านสื่อสารมวลชนร่วมกับเทคโนโลยีความจริงเสมือน กรณีศึกษา : ห้องปฏิบัติการคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์, 26(1), 72-83.
เบญนภา พัฒนาพิภัทร และนัจภัค มีอุสาห์. (2565). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดเชิงสร้างสรรค์ในการสร้างสื่อยุคดิจิทัลร่วมกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (AR). วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 42(1), 15-30.
นัจภัค มีอุสาห์ และเบญนภา พัฒนาพิภัทร. (2565). การเปรียบเทียบปัจจัยการออกแบบสื่อโฆษณาดิจิทัลไซเนจที่ส่งผลต่อความสนใจ. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 42(1), 46-59.
ณัฐวิภา สินสุวรรณ, สุวัฒน์ พื้นผา, จารุณี เจริญรส, เบญนภา พัฒนาพิภัทร, ยุวยง อนุมานราชธน, อนุสรณ์ สาครดี, กิตติพร ชูเกียรติ, อรสุชา อุปกิจ, อุกฤษ ณ สงขลา และ กรกช ใจศักดิ์. (2566). แนวทางการจัดกิจกรรมแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างเยาวชนนักสื่อสารวัฒนธรรมท้องถิ่น บทเรียนจากพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย.วารสารนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 11(1), 119-133.
ผลงานวิชาการ : บทความวิชาการ
–