1. การพัฒนาสื่อเสมือนจริง
2. เทคนิคพิเศษ Visual Effect
3. การถ่ายภาพและการประยุกต์ใช้ในงานดิจิทัล
1. การพัฒนาสื่อเสมือนจริงเพื่อส่งเสริมและและอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรม
2. การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายในงาน Digital Marketing
3. การพัฒนาสื่อดิจิทัล Digital Publishing
– การพัฒนาดิจิทัลคอนเท้นต์เพื่อการตลาดดิจิทัล
– การทำวิดีโอคอนเท้นต์เพื่อการตลาด
การผลิตสื่อดิจิทัลและเทคนิคพิเศษ พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2564 ศูนย์โรงพิมพ์นวัตกรรมการออกแบบและสื่อคอนเวอร์เจนซ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ชื่อใบรับรอง ชื่อเรื่อง วันที่รับรอง
ปี ชื่อผลงาน เผยแพร่
ปี …….
พ.ศ. ปริญญาโท : 2549 คอ.ม เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา
พ.ศ. ปริญญาตรี : 2545 คอ.บ วิศวกรรมอุตสาหการเชื่อมประกอบ
ด้านการศึกษา (ปัจจุบัน – อดีต)
พ.ศ. หน่วยงาน ตำแหน่ง
ปัจจุบัน คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์ประจำหลักสูตรเทคโนโลยีสื่อดิจิทัล
2554 ศูนย์ e-Learning มหาวิทยาลัยศรีปทุม Instructional Designer
2553 ศูนย์ e-Learning มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เจ้าหน้าที่ดูแลระบบและฝึกอบรม
1. หลักการผลิตสื่อทางภาพและเสียง
2. เทคโนโลยีโลกเสมือนจริง
3. การสร้างภาพเทคนิคพิเศษ
ปี พ.ศ. – ปี พ.ศ. ตำแหน่ง สังกัด
ชื่อโครงการ การถ่ายทอดองค์ความรู้การสร้างระบบความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality) เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนในเขตจังหวัดนครนายก พื้นที่เป้าหมายองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครนายก ถนนสายมัฆวานรังสรรค์ – แยก จปร. หมู่ที่ 3 ต.พรหมณี อ.เมือง จ.นครนายก ระยะเวลา เมษายน-พฤษภาคม พ.ศ.2560
ปี ผู้ให้ทุน ชื่อโครงการ ชื่อบริษัท
โครงการ/เรื่อง การเข้าร่วม แหล่งทุน การเผยแพร่
การทดลองกำหนดค่าโมเดลสามมิติที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาสื่อความเป็นจริงเสริมแบบ World-Scale AR. ระยะเวลาดำเนินโครงการ ตุลาคม 2564 – มีนาคม 2565
โครงการวิจัยการออกแบบระบบความเป็นจริงเสมือนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน งบประมาณทุนนักวิจัยรุ่นใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประจำปี 2560 ระยะเวลาดำเนินโครงการวิจัย 1 ตุลาคม 2559-30 กันยายน 2560 (หัวหน้าโครงการวิจัย)
ตั้งแต่ปี 2562 ถึงปัจจุบัน (2019-ปัจจุบัน) :
T. Lailang. (2022). The Configuration of 3D Model Suitable for Creating World Scale Augmented Reality (AR). Proceeding of Rajamangala University of Technology
International Conference 2022 (The 11th ), 18-20 May 2022, pp. 12.