
อาจารย์อุกฤษ ณ สงขลา
24 เมษายน 2023
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรสุชา อุปกิจ
24 เมษายน 2023
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไวยวุฒิ วุฒิอรรถสาร
ตำแหน่ง อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์
ที่อยู่ : คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพ :
1. เทคนิคการผลิตสื่อทางภาพและเสียง
2. ประวัติศาสตร์ทางด้านเทคโนโลยีทางสื่อ
3. การผลิตสื่อเพื่อการเข้าถึงของคนทุกคน
ประสบการณ์/ความชำนาญที่เป็นประโยชน์ต่อคณะฯ :
1. ผู้สอน และ วิทยากร
2. นักวิจัย
3. นักสื่อสารมวลชน
วิทยากร (ความชำนาญเฉพาะด้าน)
– หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ มหาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ผลงานหนังสือ/ตำรา/งานแปล :
ปีที่พิมพ์ ชื่อหนังสือ พิมพ์ครั้งที่ จ.น.หน้า ISBN
ไวยวุฒิ วุฒิอรรถสาร ผู้เขียน (2565) สายธารแห่งเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน ISBN 978-616-314-830-8, กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ไวยวุฒิ วุฒิอรรถสาร, ศุภมณฑา สุภานันท์, อภินันท์ ธรรมเสนา และคณะ (2559) ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารสุขภาพ ISBN 978-616-16-1135-4,นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ :
ชื่อใบรับรอง ชื่อเรื่อง วันที่รับรอง
ผลงานในลักษณะอื่น ๆ :
ปี ชื่อผลงาน เผยแพร่
ไวยวุฒิ วุฒิอรรถสาร กองบรรณาธิการร่วมกับ แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล และพรเพ็ญ จานุพงศ์ (2559) คู่มือจัดทำคำบรรยายแทนเสียง, กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
ประวัติการอบรม :
ปี ชื่อผลงาน เผยแพร่
Certificate of Building Internal Capabilities The Supervisory Grid Thailand. 2013
Certificate of Applied Learning Printing and Graphic Arts at Academy of Information Technology Sydney Australia. 2007
Certificate of The Estman Kodak Cinematography Workshop Thailand. 1999
Certificate of Fuji Minilab Technology training course Thailand. 1992
ประวัติการศึกษา :
พ.ศ. ปริญญาเอก : ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต
(ปร.ด.) สาขาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2555
พ.ศ. ปริญญาโท : วารศาสตรมหาบัณฑิต (ว.ม.) สาขาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
พ.ศ. ปริญญาตรี : วิทยาศาสตรบัณฑิต
(วท.บ.) สาขาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ ปีการศึกษา 2541
ประสบการณ์การทำงาน :
ด้านการศึกษา (ปัจจุบัน – อดีต)
พ.ศ. หน่วยงาน ตำแหน่ง
2556 นักวิจัยประจำศูนย์วิจัยสี ศูนย์วิจัยสี (Color Research Centre) คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2557 ประธานหลักสูตร วิทยาการสีและการมองเห็นของมนุษย์ (หลักสูตรนานาชาติ) คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2566 อาจารย์ประจำหลักสูตร สาขาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รายวิชาที่สอน (ที่รับผิดชอบหลัก) :
1. หลักการผลิตสื่อทางภาพและเสียง
2. ภาษาภาพยนตร์และการตีความ
3. ปฏิบัติการภาษาภาพยนตร์และการตีความ
4. การเขียนและวิเคราะห์บทภาพยนตร์
5. ปฏิบัติการเขียนและวิเคราะห์บทภาพยนตร์
ด้านงานบริการวิชาการ / การเป็นกรรมการ :
ปี พ.ศ. – ปี พ.ศ. ตำแหน่ง สังกัด
2563 – ปัจจุบัน คณะทำงานติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปี 2563 โครงการหรือกิจกรรมประเภทการอนุรักษ์และส่งเสริมประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ชุดที่ 1 สังกัดสำนักงานกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
ด้านการทำงานร่วมภาคอุตสาหกรรม :
ปี ผู้ให้ทุน ชื่อโครงการ ชื่อบริษัท
ผลงานวิชาการ : งานวิจัย
โครงการ/เรื่อง การเข้าร่วม แหล่งทุน การเผยแพร่
– ปี 2564 นักวิจัยนำเสนอผลงานการประชุมระดับนานาชาติ The 7 th Ratchasuda International Conference on Disability 2021 : Inclusion Futures: Policies, Practices and Funding. ในหัวข้อ “Warm or Cold Color? The Suitable Colored Background for Thai Sign Language on TV Screen” วันที่ 25 มิถุนายน 2564 ในรูปแบบสัมมนาออนไลน์ จัดโดยวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
– ปี 2562 นักวิจัยนำเสนอผลงานการประชุมระดับนานาชาติ The 5 th Asia Color Association Conference 2019 “color communications” ในหัวข้อเรื่อง “The Study of How the First – Time Voters Memorize the Color of Political Parties” ระหว่างวันที่ 29 พฤศจิกายน ถึง 2 ธันวาคม 2562 เมืองนาโกยา ประเทศญี่ปุ่น
– ปี 2562 นักวิจัยนำเสนอผลงานการประชุมระดับนานาชาติ The 2 rd International Conference on Applied Science, Engineering and Interdisciplinary Studies and the 4 th Prachachuen Research Network National Conference (The 2 rd ASEIS 2019 and the 4 th PRN-CON) ในหัวข้อ “The Flexible Plate Light – Emitting Diode Lamp for Lighting in the Limited Area” ร่วมกับจิรศักดิ์ ปรีชาวีรกุล, ณัฐวุฒิ ได้รูป และ ศิรวัฒน์ สายรัตน์ ระหว่างวันที่ 4 – 5 กรกฎาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จ.ปทุมธานี
– ปี 2562 นักวิจัยนำเสนอผลงานการประชุมระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 13 “ความพลิกผันของศาสตร์มนุษย์และสังคมในยุคดิจิทัล: Humanities and Social Science Disruption in the Digital Era” ในหัวข้อ “ปัจจัยความสำเร็จในการให้บริการคำบรรยายแทนเสียงและล่ามภาษามือบนจอโทรทัศน์ (Factor for Succession of Closed captioning and Sign language on Television) ” วันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
– ปี 2561 นักวิจัยนำเสนอผลงานการประชุมระดับนานาชาติ The 4 th Asia Color Association Conference 2018 “Inspiration in color” ในหัวข้อเรื่อง “The Study of Background Color Suitable for Thai Sign Language on TV Screen” ระหว่างวันที่ 5 – 8 ธันวาคม 2561 ณ โรงแรมคุ้มภูคำเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่
– ปี 2560 นักวิจัยนำเสนอผลงานการประชุมระดับนานาชาติ The 3 rd International Research Conference on Innovations in Engineering, Science and Technology, with the theme “Converging with the ASEAN Community in Fostering Innovative Researchers in Engineering, Science and Technology”ในหัวข้อเรื่อง “The Comparison of Hearing’s Visual Perception of Colors and the Deaf”ระหว่างวันที่ 27 – 29 กันยายน 2560 ณ มหาวิทยาลัยบาทังกัส ประเทศฟิลิปปินส์
– ปี2559 นักวิจัยนำเสนอผลงานการประชุมระดับนานาชาติ (โปสเตอร์) The 41 th National and 5th International Graduate Research Conference 2016 ในหัวข้อเรื่อง “Thai Closed Captioning: Case Study of Thai Closed Caption’s Prototype for Education Film” ร่วมกับวสันต์ สอนเขียว และ สุลกัณยา บุณยโยธิน ระหว่างวันที่ 8 – 9 ธันวาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประเทศไทย
– ปี 2559 นักวิจัยนำเสนอผลงานการประชุมระดับนานาชาติ The 3 rd Ratchasuda International Conference on Disability 2016 : Empowerment through Holistic Approach. ในหัวข้อ “The Study of Deaf’s Visual Perception of Colors” ระหว่างวันที่ 28-29 เมษายน 2559 ณ โรงแรม Windsor Suite กรุงเทพฯ จัดโดยวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
– ปี 2556 นักวิจัยเสนอผลงานการประชุมระดับชาติ เรื่องสัมมนาวิชาการระดับชาติด้านคนพิการ ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “คนหูหนวกกับสื่อใหม่: เฟสบุ๊ค” วันพฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม 2556 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี จัดโดยสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับคณะสังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
– ปี 2555 นักวิจัยเสนอผลงานการประชุมระดับชาติ เรื่องสัมมนาวิชาการระดับชาติด้านคนพิการ ครั้งที่ 4 ในหัวข้อ “การสื่อสารกับการสร้างอัตลักษณ์ของคนหูหนวกไทย” (รางวัลผลงานวิชาการดีเด่น อันดับหนึ่ง) วันพุธที่ 22 สิงหาคม 2555 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพฯ จัดโดยสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
– ปี 2553 นักวิจัยเสนอผลงานการประชุมระดับชาติ เรื่องสัมมนาวิชาการระดับชาติด้านคนพิการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ “ลักษณะของคำบรรยายอักษรไทยที่เหมาะสมในภาพยนตร์เพื่อการศึกษาสำหรับผู้พิการทางการได้ยิน”วันศุกร์ที่ 30 กรกฎาคม 2553 ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ จัดโดยสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
– ปี 2552 นักวิจัยเสนอผลงานการประชุมระดับชาติ เรื่องสัมมนาวิชาการระดับชาติด้านคนพิการ ครั้งที่ 1 ในหัวข้อ “การศึกษาคำบรรยายที่เหมาะสมสำหรับการรับรู้ภาพยนตร์ของคนหูหนวก” วันพุธที่ 23 กันยายน 2552 ณ โรงแรมปรินส์พาเลส กรุงเทพฯ จัดโดยสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
– ปี 2549 นักวิจัยเสนอผลงานการประชุมระดับชาติ เรื่องงานวิจัยและการพัฒนาผู้มีความบกพร่องทางการ ได้ยิน เรื่อง “ข้อเสนอการสร้าง OPEN CAPTION ในภาพยนตร์” วันพฤหัสที่ 24 สิงหาคม 2549 โรงแรมริเวอร์ไซด์ กรุงเทพฯ โดยมูลนิธิอนุเคราะห์คนหูหนวกแห่งประเทศไทยและมูลนิธิการศึกษาพิเศษในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
ผลงานวิชาการ : บทความวิชาการ
ตั้งแต่ปี 2562 ถึงปัจจุบัน (2019-ปัจจุบัน) :
ศาสตร์, ปีที่ 12 (1) : 189 – 214.
Waiyawut Wuthiastasarn (2019) “A comparative study on the visual color perception of hearing and deaf people”, International Research Journal on Innovations in Engineering, Science and Technology (IRJIEST), Volume 5, page 30 – 32.
ไวยวุฒิ วุฒิอรรถสาร (2565) “ความสัมพันธ์ของความพึงพอใจกับความเข้าใจเนื้อหารายการพยากรณ์อากาศที่มีล่ามภาษามือไทยและคำบรรยายแทนเสียงระหว่างคนบกพร่องทางการได้ยิน คนหูหนวกกับคนหูปกติ”,วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, ปีที่ 16 (1) : 72-95.